กระทกรก
| |
ชื่อไทย : | กระทกรก |
ชื่อวิทยาศาสตร์ : | Passiflora foetida L. |
ลักษณะทั่วไป : | ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก ลำต้นแตกแขนงทอดราบไปตามพื้นดิน ปลายกิ่งมักชูตั้งขึ้น สูงได้ถึง 50 ซม. ลำต้นมีขนประปราย ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี กว้างประมาณ 2.5 ซม. ยาวประมาณ 5.5 ซม. ปลายแหลม โคนสอบ ขอบจักเล็กน้อย มีจักเป็นรูปสามเหลี่ยมกลางแผ่นใบทั้ง 2 ข้าง เส้นแขนงใบข้างละ 1 เส้น ที่โคนใบเห็นไม่ชัดเจน อีกคู่หนึ่งเห็นชัด เหนือขึ้นไปมีเส้นแขนงใบข้างละ 4 เส้น ก้านใบสั้นหรือไม่มี ช่อดอก แบบช่อกระจุก ออกตามง่ามใบใกล้ยอด กว้างประมาณ 2 ซม. ก้านช่อดอกยาว 4- 6 ซม. โคนช่อมีใบประดับรูปรีเรียงซ้อนกัน 2 ชั้น ชั้นละ 4-5 ใบ ชั้นนอกโคนติดกัน ชั้นในเรียงสลับกับชั้นนอก อยู่โดยรอบฐานดอก ที่ขอบใบประดับมีขน ใบประดับชั้นนอกจะใหญ่ขึ้นเมื่อดอกโรย ดอกวงนอกเป็นดอกเพศเมีย มี 8-10 ดอก ดอกวงในซึ่งเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ขนาดเล็กกว่าและมีจำนวนมากกว่า กลีบดอกวงนอกสีเหลืองติดกันเป็นแผ่น กว้าง 3- 4 มม. ยาว 0.8- 1 ซม. โคนติดกันเป็นหลอดสั้นมาก ปลายแยกเป็น 3 แฉก ดอกวงในกลีบดอกสีเหลือง โคนกลีบติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก ที่ขอบแฉกมีขน รอบๆ ดอกวงในมีใบประดับบางใส รูปท้องเรือปลายแหลมแทรกอยู่ รังไข่เล็ก และเป็นหมัน เกสรเพศผู้ 5 อัน สีน้ำตาลดำ ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 2 แฉก ผล เกิดจากดอกวงนอก ยาวประมาณ 5 มม. รูปไข่กลับ ปลายยอดผลมีเยื่อสีขาว รูปถ้วย โคนที่ติดกันกับฐานเรียวแหลมเป็นสามเหลี่ยม มีเนื้อนุ่มสีขาวหุ้มและขรุขระ เมล็ด เล็ก สีดำ เป็นมัน รูปสามเหลี่ยมปลายแหลม ยาวประมาณ 4 มม. |
วันพฤหัสบดีที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2554
กระทกรก หรือ บักหิงห่าง หรือ เงาะป่า หรือ ลูกรกช้าง หรือ ผ้าร้ายห่อทอง
วันศุกร์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2554
ผลไทรป่า หรือ ลูกไทรป่า และ ผลไทร หรือ ลูกไทร
วันอาทิตย์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2554
ขนุน หรือ บักมี่ หรือ ปาหนุน หรือ หนุน หรือ กระนู หรือ หมากลาง
ขนุน ทางภาคอีสานเรียกว่า บักมี่ ภาคเหนือเรียกปาหนุน ภาคใต้เรียก หนุน กาญจนบุรีเรียก กระนู
มีชื่อสามัญว่า Jack fruit ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Artocarpus heterophyllus lam.
ถิ่นกำเนิดของขนุนอยู่ที่ประเทศอินเดีย จากนั้นได้แพร่หลายไปบนผืนแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ด้วยกระบวนการค้าที่ติดต่อแลกเปลี่ยนสินค้ากันในแถบนี้ขนุนได้รับควานิยมอย่างมากโดยเฉพาะในแหลมมลายู
มีชื่อสามัญว่า Jack fruit ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Artocarpus heterophyllus lam.
ถิ่นกำเนิดของขนุนอยู่ที่ประเทศอินเดีย จากนั้นได้แพร่หลายไปบนผืนแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ด้วยกระบวนการค้าที่ติดต่อแลกเปลี่ยนสินค้ากันในแถบนี้ขนุนได้รับควานิยมอย่างมากโดยเฉพาะในแหลมมลายู
ได้ชื่อว่า แจ็กฟรุต ( jack fruit) คำว่า jack มาจากคำว่า จากา ( jaka) เป็นภาษาโปรตุเกส ซึ่งก็เพี้ยนมากคำพื้นเมืองมลายู
คือ จัคคา ( Chakka) แปลว่า "กลม" อีกที่หนึ่ง คำว่า แจ๊กฟรุตนี้ เรื่มปรากฎครั้งแรกในช่วงศตวรรษที่ 17
คือ จัคคา ( Chakka) แปลว่า "กลม" อีกที่หนึ่ง คำว่า แจ๊กฟรุตนี้ เรื่มปรากฎครั้งแรกในช่วงศตวรรษที่ 17
ขนุนไม่ได้เป็นผลไม้พื้นเมืองของไทย แต่ก็ไม่ปรากฎหลักฐานใดที่จะอ้างอิงได้ว่าใครนำขนุนเข้าปลูกเมื่อไหร่หรืออย่างไร
แต่เดิมดินแดนสยามก็มีขนุนมาตั้งแต่ครั้งสมัยพ่อขุนรามคำแหง ดังที่กล่าวไว้ในศิลาจารึกว่า
"ป่าพร้าวก็หลายในเมืองนี้ ป่าลางก็หลายในเมืองนี้ คำว่า "ลาง" เป็นภาษาไทใหญ่ หมายถึง "ขนุน"
ครั้นล่วงถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา ก็ปรากฎว่าได้กล่าวไว้ในจดหมายเหตุของวิละภาเคทะระ เรื่อง
" คณะฑูตลังกามาประเทศสยาม" ว่าคนสายามได้มีการในสิ่งของต้อนรับ หนึ่งในนั้นมีขนุน 11 ผลด้วย
แต่เดิมดินแดนสยามก็มีขนุนมาตั้งแต่ครั้งสมัยพ่อขุนรามคำแหง ดังที่กล่าวไว้ในศิลาจารึกว่า
"ป่าพร้าวก็หลายในเมืองนี้ ป่าลางก็หลายในเมืองนี้ คำว่า "ลาง" เป็นภาษาไทใหญ่ หมายถึง "ขนุน"
ครั้นล่วงถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา ก็ปรากฎว่าได้กล่าวไว้ในจดหมายเหตุของวิละภาเคทะระ เรื่อง
" คณะฑูตลังกามาประเทศสยาม" ว่าคนสายามได้มีการในสิ่งของต้อนรับ หนึ่งในนั้นมีขนุน 11 ผลด้วย
คนไทยนิยมปลูกขนุนไว้ตามบ้าน เพราะเชื่อว่า "ขนุน" เป็นนามมงคล ปลูกไว้ในบ้านไหน
ก็จะให้ความเป็นสิริมงคลทำให้บ้านนั้นได้รับการเกื้อกูล หนุนเนื่องให้รุ่งเรืองในชีวิตและอาชีพการงาน
ก็จะให้ความเป็นสิริมงคลทำให้บ้านนั้นได้รับการเกื้อกูล หนุนเนื่องให้รุ่งเรืองในชีวิตและอาชีพการงาน
ขนุนเป็นไม้ยืนต้นเนื้อแข็ง ตะกูลเดียวกับต้นสาเกลำต้นใหญ่ มียางขาวทั้งต้น
ใบออกแบบสลับ รูปร่างกลมรีใบสีเขียวเข้มเรียบเป็นมัน เนื้อใบเหนียวและหนา ดอกออกเป็นช่อสีเขียว
ดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่ในต้นเดียวกัน ช่อดอกตัวผู้ออกบริเวณปลายกิ่งหรือออกใบ เป็นแท่งยาว
ช่อดอกตัวเมียเป็นแท่งกลมยาว ออกตามลำต้นหรือกิ่งก้านใหญ่ ขนุนให้ผลดก
ต้นที่สมบูรณ์สามารถให้ผลได้เต็มที่มากถึง 200-300 ผล ผลขนุนเติบโตมาจากดอกเล็ก ๆ นับร้อยนับพันที่ผสานกัน
เมื่อติดผลจำนวนนับร้อยเป็นยวงหุ้มเมล็ด (ยวงคือเนื้อขนุนส่วนที่นำมากิน) มีซังเป็นเส้น ๆ รองรับ เกาะเรียงกันบนแกนขนุน
มีเปลือกหุ้มยางทั้งหมอ จึงทำให้ดูคล้ายเป็นผลเดียวกัน ลักษณะเดียวกับสับปะรด
ผลดิบเปลือกสีเขียวสด มีหนามทู่เล็ก ๆ รอบผล ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางผล 20- 35 ซม.
หากกรีดเปลือกจะมียางเหนียว สีขาวไหลเยิ้มออกมา เมื่อขนุนแก่เปลือกจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลอ่อนอมเหลือง
หนามบนผิวเปลือกจะแบนป้านออกภายในผลจะมีซังขนุนเป็นเส้น ๆ หุ้มยวงสีเหลืองไว้ ภายในยวงมีเมล็ดกลมรี สีเครีม เปลือกหุ้มเมล็ดบาง
ใบออกแบบสลับ รูปร่างกลมรีใบสีเขียวเข้มเรียบเป็นมัน เนื้อใบเหนียวและหนา ดอกออกเป็นช่อสีเขียว
ดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่ในต้นเดียวกัน ช่อดอกตัวผู้ออกบริเวณปลายกิ่งหรือออกใบ เป็นแท่งยาว
ช่อดอกตัวเมียเป็นแท่งกลมยาว ออกตามลำต้นหรือกิ่งก้านใหญ่ ขนุนให้ผลดก
ต้นที่สมบูรณ์สามารถให้ผลได้เต็มที่มากถึง 200-300 ผล ผลขนุนเติบโตมาจากดอกเล็ก ๆ นับร้อยนับพันที่ผสานกัน
เมื่อติดผลจำนวนนับร้อยเป็นยวงหุ้มเมล็ด (ยวงคือเนื้อขนุนส่วนที่นำมากิน) มีซังเป็นเส้น ๆ รองรับ เกาะเรียงกันบนแกนขนุน
มีเปลือกหุ้มยางทั้งหมอ จึงทำให้ดูคล้ายเป็นผลเดียวกัน ลักษณะเดียวกับสับปะรด
ผลดิบเปลือกสีเขียวสด มีหนามทู่เล็ก ๆ รอบผล ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางผล 20- 35 ซม.
หากกรีดเปลือกจะมียางเหนียว สีขาวไหลเยิ้มออกมา เมื่อขนุนแก่เปลือกจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลอ่อนอมเหลือง
หนามบนผิวเปลือกจะแบนป้านออกภายในผลจะมีซังขนุนเป็นเส้น ๆ หุ้มยวงสีเหลืองไว้ ภายในยวงมีเมล็ดกลมรี สีเครีม เปลือกหุ้มเมล็ดบาง
ขนุนมีหลายพันธุ์หลายสี หลายเนื้อและหลายระดับความหวานซังขนุนบางผลจะหวานหอม
เช่นเดียวกับยวงนำมากินได้เช่นเดียวกับเนื้อขนุน แต่ซังขนุนส่วนมากมักเหนียว รสหวานจือซืด
จึงถูกทิ้ง ขนุนมีหลายขนาด ขนาดใหญ่หนักถึง 40 กิโลกรับ นับเป็นผลไม้ผลใหญ่ที่สุดในบรรดาผลไม้ทั้งหลายทั้งปวงในโลก
ขนุนมีมากมายหลายพันธุ์ เช่น พันธุ์ขุนวิชาญ อีถ่อ แม่น้อยทะวาย และละแม เป็นต้น
เช่นเดียวกับยวงนำมากินได้เช่นเดียวกับเนื้อขนุน แต่ซังขนุนส่วนมากมักเหนียว รสหวานจือซืด
จึงถูกทิ้ง ขนุนมีหลายขนาด ขนาดใหญ่หนักถึง 40 กิโลกรับ นับเป็นผลไม้ผลใหญ่ที่สุดในบรรดาผลไม้ทั้งหลายทั้งปวงในโลก
ขนุนมีมากมายหลายพันธุ์ เช่น พันธุ์ขุนวิชาญ อีถ่อ แม่น้อยทะวาย และละแม เป็นต้น
- ขนุนที่นิยมปลูกมีดังต่อไปนี้
- พันธุ์ตาบ๊วย เนื้อสีจำปาออกส้มเหลือง ผลขนาดใหญ่เนื้อหนา หวานกรอบ
- พันธุ์ฟ้าถล่ม ขนาดใหญ่หนักถึง 20-30 กิโลกรับ ลูกค่อนข้างกลม เนื้อหนา สีเหลืองทอง รสหวานสนิท
- พันธุ์ทองสุดใจ ผลขนาดใหญ่ มีน้ำหนักถึง 25 กิโลกรัม รูปร่างยาว เนื้อสีเหลือง แห้งกรอบ รสหวานปานกลางไม่หวานจัดเท่าฟ้าถล่ม
- พันธุ์จำปากรอบ เนื้อสีจำปา เนื้อไม่หนาเท่าไร รสหวานอมเปรี้ยวนิด ๆ ผลมีขนาดกลาง น้ำหนัก 15- 18 กิโลกรัม
- ขนุนออกดอกตลอดปี จึงมีขนุนสุกให้กินตลอดปีเช่นกัน ในช่วงเดือนมกราคมถึงพฤษภาคม
เป็นฤดูกาลที่ขนุนสุกมากที่สุด แหล่งปลูกอยู่ที่จังหวัดปราจีนบุรี ชลบุรี ระยอง นครปฐม นครสวรรค์ พิษณุโลก และอุตรดิตถ์
- เนื้อขนุนสุกเป็นเครื่องชูกลิ่นชูรสขนมหวานอื่น ๆ ได้ดี เช่น ฉีกใส่ไอศกรีมกะทิสด ลอดช่องสิงคโปร์
รวมมิตรหวานเย็น และใส่ในน้ำเชื่อม จะได้ทั้งกลิ่นและรสชาติอันเป็นเสน่ห์เฉพาะตัวของขนุน
นอกจากนี้คนโบราณยังเอาขนุนไม่ทำเป็นหน้าข้าวเหนียวมุนเพือชูกลิ่นหอม
มีรสหวานจัดเข้ากันได้ดีกับความมันเหนียวของข้าวเหนียวมูน
ขนุนสุกนำไปอบแห้งเป็นขนุนแห้งพร้อมกินเป็นของว่างคนอินโดนีเซียใช้ขนุนแห้งมารับแขกต่างชาติอย่างภาคภูมิใจ
ในประเทศไทยมีขนุนอบแห้งบรรจุถุงออกมาขายอยุ่บ้าง แต่ไม่แพร่หลาย ส่วนขนุนอ่อนนำมาใช้เป็นผักปรุงอาหารได้
ในประเทศไทยมีขนุนอบแห้งบรรจุถุงออกมาขายอยุ่บ้าง แต่ไม่แพร่หลาย ส่วนขนุนอ่อนนำมาใช้เป็นผักปรุงอาหารได้
วันเสาร์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2554
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)